fbpx
  • ศูนย์ผิวพรรณและศัลยกรรมความงาม

  • 1
  • บทความสุขภาพ

  • 1

โรคเรื้อรังอื่นๆ หรือโรคประจำตัวอื่น ทำให้กระดูกพรุนได้หรือไม่

โรคเรื้อรังหรือโรคประจำตัวบางชนิด ทำให้กระดูกบางลงกว่าปกติ จนเกิดเป็นภาวะกระดูกพรุนได้ หรือการรักษาบางอย่างก็สามารถทำให้เกิดกระดูกพรุนได้ซึ่ง เรียกว่า กระดูกพรุนชนิดทุติยภูมิ (secondary osteoporosis) ได้แก่

โรคต่อมไร้ท่อ ดังต่อไปนี้

  • ภาวะต่อมไทรอยด์เป็นพิษ (Hyperthyroidism) 
  • ภาวะต่อมหมวกไตทำงานมากเกิน (Cushing’s syndrome) 
  • ต่อมพาราไทรอยด์ทำงานมากเกิน (Hyperparathyroidism)
  • ภาวะขาดฮอร์โมนเพศ
  • ภาวะขาดวิตามินดี Rickets หรือโรคกระดูกอ่อน ซึ่งพบบ่อยในเด็ก, ภาวะขาดแคลเซียม
  • โรคเบาหวาน 

 มะเร็ง (เต้านม เม็ดเลือดขาว ต่อมน้ำเหลือง) 

  •  การใช้ยาสเตอรอยด์ ต่อเนื่องเป็นเวลานาน
  • โรคปวดข้อรูมาตอยด์ 
  • โรคตับเรื้อรัง,การเสพติดแอลกอฮอล์, การสูบบุหรี่ (ทำให้เอสโทรเจนในเลือดลดลง)  เป็นต้น
รับคำแนะนำจากแพทย์ผู้ชำนาญการ
 

ข้าพเจ้ายินยอมโดยสมัครใจให้คณะแพทย์ – พยาบาล, เจ้าหน้าที่ และ/หรือ บุคลากรอื่นๆ ในทีมสุขภาพของโรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา ทำการตรวจรักษาและกระทำการใดๆ ตามหลักวิชาชีพทางการแพทย์ เปิดเผยข้อมูลการตรวจรักษาของข้าพเจ้าให้แก่ทีมสุขภาพของโรงพยาบาล ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความจำเป็นในการเข้าถึงข้อมูลของข้าพเจ้า ทั้งนี้ข้าพเจ้าได้รับทราบถึงคำประกาศสิทธิผู้ป่วย และ ข้อกำหนดความเป็นส่วนตัวเป็นอย่างดีแล้ว

ชีวิตดีๆ เพราะมีนม

Beauty... A Must to know: การเตรียมตัวก่อนการผ่าตัดเสริมหน้าอก

Patient Journey : Breast Augmentation

The Doctors การศัลยกรรมเสริหมหน้าอก โดย นพ.รัฐศักดิ์ ลอยวิรัตน์

Gemma Dalgleish อยู่ที่พัทยาสองสัปดาห์ เพื่อทำศัลยกรรมยกกระชับหน้าท้องของเธอกับ นพ. ธีระสุต วัฒนจินดาพร

Bianca ทำศัลยกรรมยกกระชับหน้าท้อง เพื่อแก้ปัญหารูปร่างของเธอและจะกลับมาที่นี่อีกครั้งเพื่อ..เปลี่ยนชีวิต

Leanne เธอเป็น Personal Trainer เธอตื่นเต้นและประทับใจนพ.ธีระสุต ที่ทำให้รูปร่างของเธอกลับมาสวยงามดังเดิม